ลูกประคบ

ความเป็นมาของภูมิปัญญา

เริ่มจากตัวเองมีอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย จึงได้ฝึกทำลูกประคบ จนเกิดความชำนาญ และได้ทำประกอบอาชีพเสริมจนถึงปัจจุบัน

อาการ/การสังเกต
ถามอาการ สังเกตอาการ

วิธีการรักษา
 1.นำลูกประคบไปนึ่งร้อน
 2.แล้วนำมาประคบตามจุดสำคัญของร่างกาย ตามอาการที่เจ็บป่วย
 3.ลูกประคบใช้ได้ประมาณ 2-3 ครั้ง
 4.การรักษาขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วย

สมุนไพรรักษา
 - ขมิ้นชัน
 - ใบมะขาม
 - ใบมะกรูด
 - ใบมะขาม
 - ตะไคร้
 - ว่านใบเตยหอม
 - ใบส้มปอย

ข้อปฏิบัติ/คำลำ
  -ไม่มี- 

การเรียนรู้
เรียนรู้จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เรียนรู้โดยการอบรม และลองฝึกปฎิบัติ ใช้เวลาเรียนรู้ 1 วัน สามารถใช้รักษาบุคคลในครอบครัว และมีรายได้เสริม

การถ่ายทอด
ถ่ายทอดให้กับบุคคลที่สนใจ โดยการบอกเล่า สอนปฏิบัติ และลงมือทำให้ดูเป็นตัวอย่าง

ประโยชน์ภูมิปัญญาต่อการเรียนรู้

วิธีการทำลูกประคบ สมุนไพรที่ใช้รักษาและการส่งเสริมสุขภาพ

พื้นที่โรงเรียน

ตชด. บ้านห้วยเวียงงาม

กลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา,

ภาพประกอบ

ผู้รวบรวม : ผศ.พฤษมงคล จุลพูล,น.ส.ทักษพร ไชยนาม,น.ส.ศิริพร วระวงศ์,น.ส.ภารดี ศรีบัวน้อย วันที่รวบรวม : 2559-02-07




ข้อมูลปราชญ์


นางจันทเกษ วงษา
บ้านห้วยเวียงงาม

เรื่องที่เกี่ยวข้อง

© 2016 | is.udru.ac.th All Right Reserved | สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี | login